1. คลิกขวาที่มี Rectangle Tool สัญลักษณ์รูปสี่เหลี่ยมในกล่องเครื่องมือ
2. ก็จะขึ้นเป็น I con รูปมือขึ้นมา เพื่อการเลื่อนกระดาษ
3. คลิกที่ view ทำการตีกรอบ ขยายกรอบ แล้วไปคลิกที่ลูกศรที่กล่องเครื่องมือ
4. แล้วเลือกสีที่เราต้องการ 1 สี แล้วไปคลิกที่กรอบสีที่กล่องเครื่องมือแต่เลือกกรอบที่ 2
5. แล้ววาดกรอบสี่เหลี่ยมเพิ่มขึ้น แล้วปรับกรอบสี่เหลี่ยมให้เล็กลง
6. คลิกที่ Blend options คลิก Cancel
7. หรืออีกวิธี คลิกเมนู object Blend options
8. จะได้รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า 4 รูป ไล่ระดับกันไป
9. มี I con มือ ปรับให้เล็กลง แล้วกดคลิกที่ลูกศรเพื่อทำการคลุม รูปสี่เหลี่ยมทั้ง 4 รูป ย่อขนาดให้เล็กลง10.ไปที่กล่องเครื่องมือ Brushes แล้วไปที่หน้าต่าง window ไปที่ Brushes
11. new Brush แล้วไปที่ New Art Brush แล้วคลิก OK จะขึ้นหน้าต่าง Art Brush Options
12. เลือกลูกศร ที่หันไปทางขวามือ ได้ตามที่ต้องการแล้วคลิก OK
13. แล้วไปคลิกที่กล่องเครื่องมือ ที่เป็นรูปสี่เหลี่ยม แล้วไปคลิกที่ Fillip Tool ที่เป็นรูปวงกลม
14. สร้างวงกลมขึ้นมา 1 รูป แล้วก็เอา สี่เหลี่ยมผืนผ้าที่สร้างไว้แล้ว ไปใส่ในวงกลม
15. ปรับขนาด ย่อขนาด ตามความเหมาะสม
16. สร้างรูปวงกลมเพิ่มอีก 1 รูป แล้วไปที่ Brushes แล้วก็จะขึ้นหน้าต่าง New scatter Brush คลิก OK ก็จะขึ้นหน้าต่าง Scatter Brush
17. Fixed ก็จะ size ให้เลือก ก็จะเลือก Random
18. ปรับขนาด size spacing scatter ตามต้องการ แล้วคลิก Ok
19. คลิก รูปสี่เหลี่ยมในกล้องเครื่องมือ แล้วเลือก Rectangle Tool เพื่อสร้างกรอบสี่เหลี่ยม 1 รูป เลือกสี แล้วปรับ กรอบสี่เหลียมในกล้องเครื่องมือ ที่อยู่ล่างสุด
20. ปรับขนาดสี่เหลี่ยม ให้พอดี สร้างกรอบอีก 1 กรอบ ที่สี่เหลี่ยมแนวยาว ให้เป็น 4 รูป
21. คลิกที่ แปรง ตรงกล่องเครื่องมือ ทำเป็นลายเส้น คลิกที่ลูกศรด้านบนตรงกล่องเครื่องมือทำให้สามารถเลื่อนได้
22. แล้วไปคลิกที่ วงกลม ที่ทำไว้แล้ว ใน Brushes
23. ปรับขนาด size spacing scatter อีกครั้ง เพื่อความสวยงาม แล้วคลิก Ok
24. จะขึ้นหน้าต่าง Brush Change Alert แล้วคลิกที่ Apply to strokes
25. จัดให้เรียบร้อย แล้วคลิกที่ T เพื่อสร้างตัวอักษร อะไรก็ได้แล้วขยายให้ใหญ่ขึ้น ให้เท่ากับลายกราฟิกแล้วเลือกสีให้ตัวอักษรกับกราฟิกเหมือนกัน หรือต่างกันก็ได้
26. เสร็จเรียบร้อย ตามที่ต้องการ
วันเสาร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
- ลักษณะการนำเสนอและคุณสมบัติของผู้นำเสนอที่ดี -
- ลักษณะการนำเสนอและคุณสมบัติของผู้นำเสนอที่ดี -
หลังจากกำหนดจุดมุ่งหมายการนำเสนออย่างชัดเจน และวิเคราะห์ผู้รับการนำเสนอแล้วจะต้องต้องเลือกรูปแบบการนำเสนอให้เหมาะสมมีการรวบรวมข้อมูล เพื่อนำมาสนับสนุนการนำเสนอด้วยการนำมาเขียนคำกล่าวนำและเนื้อเรื่องตลอดจนคำสรุป รวมทั้งจะต้องจัดเตรียมการใช้โสตทัศนูปอุปกรณ์ ตามความเหมาะสมในการนำเสนอผลงานให้ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์นั้นอาจแบ่งได้เป็น 3 ขั้นตอนดังนี้
1. เตรียมให้พร้อม
2. ซ้อมให้ดี
3. มีบุคลิกมั่นใจ
1.1 การเลือกรูปแบบการนำเสนอ เป็นการพิจารณาความเหมาะสมว่าจะให้การนำเสนอรูปแบบใด จึงจะเหมาะสม วัตถุประสงค์ของการนำเสนอ เหมาะกับลักษณะและความต้องการหรือไม่
1.2 การรวบรวมข้อมูล ผู้นำเสนอจะต้องทำความเข้าใจข้อมูลต่าง ๆให้แจ่มชัด การนำเสนอเอกสาร ข้อมูลประกอบจะต้องมีความรอบคอบ จัดทำเป็นระบบระเบียบ การนำเสนอผลงานประกอบคำบรรยายภาพ ไม่ควรอธิบายเพียงสิ่งที่อยู่บนจอภาพ ควรพูดถึงที่มาของกระบวนการคิด ปัญหาข้อผิดพลาดและความสำเร็จ เพื่อให้รู้สนใจ ทั้งงานของคุณและตัวคุณเอง
1.3 การเตรียมคำพูด กล่าวนำ เนื้อเรื้อง และคำสรุป เป็นขั้นตอนที่สำคัญ การกล่าวนำให้น่าสนใจ เร้าความรู้สึกใคร่รู้ ให้ส่วนกลางฟัง ซึ้งไม่ควร จะมีความยาวเกินกว่า 10 % ของเนื้อหาทั้งหมดส่วนเนื้อเรื่อง จะต้องประมวลความคิดด้วยการรวบรวมข้อมูลสถิติหลักฐาน มีการคิดเหตุผล และจัดลำดับความคิดนำมาเรียบเรียงถ้อยคำ และเลือกใช้ถ้อยคำให้สื่อความหมายตรงตามวัตถุประสงค์อย่างเหมาะสมส่วนคำสรุป ไม่ควรมีคำกล่าวกวน แต่จะต้องมีความสั้น กระชับ ระหว่าง 5-10 % ของเนื้อหา เพราะการสรุปเป็นการประมวลความจากเนื้อหาให้หลอมรวมกัน เพื่อเน้นย้ำสาระของเรื่องที่นำเสนอแต่ไม่ใช่การกล่าวซ้ำความในเนื้อเรื่อง2. ซ้อมให้ดี
2.1 ซ้อมพูด เมื่อทำสื่อเพื่อการนำเสนอเสร็จ ไม่ได้หมายความว่าคุณนั้นพร้อมจะนำเสนอ ดังนั้นจงซ้อมจน กระทั่งสามารถควบคุมจังหวะและเวลาได้ และไม่รู้สึกเกร่ง ลองหาหนูทดลอง มาฟังคุณซ้อมอาจจะชวนเพื่อนหรือคนที่ไม่รู้จักมาฟังจะดีมากยืนพูด ให้ความสำคัญกับลักษณะ ท่าทางและเสียงพูดของคุณดูว่าฟังพูดตะกุงตะกัก
2.2 ปรับปรุงแก้ไข เป็นส่วนที่จะละเลยไม่ได้ ในการฝึกซ้อมจะพบข้อติดขัด หรือ บกพร่องอยู่ แต่ถ้าปล่อยให้เลยตามเลยไม่คิดหาวิธีแก้ไขและดำเนินปรับปรุง
3. มีบุคลิกมั่นใจ
3.1 ลักษระการนำเสนอที่ดี โดยทั่วไปควรมีดังต่อไปนี้
1. มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน มีความต้องการที่แน่ชัด อะไร
2. มีรูปแบบการนำเสนอเหมาะสม มีความกะทัดรัด
3. เนื้อหาสาระดี มีความน่าเชื่อถือ
4. มีข้อเสนอที่ดี มีข้อเสนอที่สมเหตุสมผล
3.2 คุณสมบัติของผู้นำเสนอในการนำเสนอด้วยวาจา คุณสมบัติอันเป็นลักษณะประจำตัวในของผู้นำเสนอ ถือได้ว่า เป็นส่วนสำคัญของความสนใจในการนำเสนอ
ผู้นำเสนอที่ประสบความสำเร็จส่วนใหญ่จะมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
1. มีบุคลิกดี 5
2. มีความรู้อย่างถ่องแท้ 7
3. มีความน่าเชื่อถือไว้วางใจ 8
4. มีความเชื่อมั่นในตนเอง 7
5. มีภาพลักษณ์ที่ดี 5
6. มีน้ำเสียงชัดเจน 7
7. มีจิตวิทยาโน้มน้าวใจ 7
8. มีความสามารถใช้โสตทัศนอุปกรณ์ 7
9. มีควาช่างสังเกต 7
10. มีไหวพริบปฎิภาณในคำถามดี 7
หลังจากกำหนดจุดมุ่งหมายการนำเสนออย่างชัดเจน และวิเคราะห์ผู้รับการนำเสนอแล้วจะต้องต้องเลือกรูปแบบการนำเสนอให้เหมาะสมมีการรวบรวมข้อมูล เพื่อนำมาสนับสนุนการนำเสนอด้วยการนำมาเขียนคำกล่าวนำและเนื้อเรื่องตลอดจนคำสรุป รวมทั้งจะต้องจัดเตรียมการใช้โสตทัศนูปอุปกรณ์ ตามความเหมาะสมในการนำเสนอผลงานให้ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์นั้นอาจแบ่งได้เป็น 3 ขั้นตอนดังนี้
1. เตรียมให้พร้อม
2. ซ้อมให้ดี
3. มีบุคลิกมั่นใจ
1.1 การเลือกรูปแบบการนำเสนอ เป็นการพิจารณาความเหมาะสมว่าจะให้การนำเสนอรูปแบบใด จึงจะเหมาะสม วัตถุประสงค์ของการนำเสนอ เหมาะกับลักษณะและความต้องการหรือไม่
1.2 การรวบรวมข้อมูล ผู้นำเสนอจะต้องทำความเข้าใจข้อมูลต่าง ๆให้แจ่มชัด การนำเสนอเอกสาร ข้อมูลประกอบจะต้องมีความรอบคอบ จัดทำเป็นระบบระเบียบ การนำเสนอผลงานประกอบคำบรรยายภาพ ไม่ควรอธิบายเพียงสิ่งที่อยู่บนจอภาพ ควรพูดถึงที่มาของกระบวนการคิด ปัญหาข้อผิดพลาดและความสำเร็จ เพื่อให้รู้สนใจ ทั้งงานของคุณและตัวคุณเอง
1.3 การเตรียมคำพูด กล่าวนำ เนื้อเรื้อง และคำสรุป เป็นขั้นตอนที่สำคัญ การกล่าวนำให้น่าสนใจ เร้าความรู้สึกใคร่รู้ ให้ส่วนกลางฟัง ซึ้งไม่ควร จะมีความยาวเกินกว่า 10 % ของเนื้อหาทั้งหมดส่วนเนื้อเรื่อง จะต้องประมวลความคิดด้วยการรวบรวมข้อมูลสถิติหลักฐาน มีการคิดเหตุผล และจัดลำดับความคิดนำมาเรียบเรียงถ้อยคำ และเลือกใช้ถ้อยคำให้สื่อความหมายตรงตามวัตถุประสงค์อย่างเหมาะสมส่วนคำสรุป ไม่ควรมีคำกล่าวกวน แต่จะต้องมีความสั้น กระชับ ระหว่าง 5-10 % ของเนื้อหา เพราะการสรุปเป็นการประมวลความจากเนื้อหาให้หลอมรวมกัน เพื่อเน้นย้ำสาระของเรื่องที่นำเสนอแต่ไม่ใช่การกล่าวซ้ำความในเนื้อเรื่อง2. ซ้อมให้ดี
2.1 ซ้อมพูด เมื่อทำสื่อเพื่อการนำเสนอเสร็จ ไม่ได้หมายความว่าคุณนั้นพร้อมจะนำเสนอ ดังนั้นจงซ้อมจน กระทั่งสามารถควบคุมจังหวะและเวลาได้ และไม่รู้สึกเกร่ง ลองหาหนูทดลอง มาฟังคุณซ้อมอาจจะชวนเพื่อนหรือคนที่ไม่รู้จักมาฟังจะดีมากยืนพูด ให้ความสำคัญกับลักษณะ ท่าทางและเสียงพูดของคุณดูว่าฟังพูดตะกุงตะกัก
2.2 ปรับปรุงแก้ไข เป็นส่วนที่จะละเลยไม่ได้ ในการฝึกซ้อมจะพบข้อติดขัด หรือ บกพร่องอยู่ แต่ถ้าปล่อยให้เลยตามเลยไม่คิดหาวิธีแก้ไขและดำเนินปรับปรุง
3. มีบุคลิกมั่นใจ
3.1 ลักษระการนำเสนอที่ดี โดยทั่วไปควรมีดังต่อไปนี้
1. มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน มีความต้องการที่แน่ชัด อะไร
2. มีรูปแบบการนำเสนอเหมาะสม มีความกะทัดรัด
3. เนื้อหาสาระดี มีความน่าเชื่อถือ
4. มีข้อเสนอที่ดี มีข้อเสนอที่สมเหตุสมผล
3.2 คุณสมบัติของผู้นำเสนอในการนำเสนอด้วยวาจา คุณสมบัติอันเป็นลักษณะประจำตัวในของผู้นำเสนอ ถือได้ว่า เป็นส่วนสำคัญของความสนใจในการนำเสนอ
ผู้นำเสนอที่ประสบความสำเร็จส่วนใหญ่จะมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
1. มีบุคลิกดี 5
2. มีความรู้อย่างถ่องแท้ 7
3. มีความน่าเชื่อถือไว้วางใจ 8
4. มีความเชื่อมั่นในตนเอง 7
5. มีภาพลักษณ์ที่ดี 5
6. มีน้ำเสียงชัดเจน 7
7. มีจิตวิทยาโน้มน้าวใจ 7
8. มีความสามารถใช้โสตทัศนอุปกรณ์ 7
9. มีควาช่างสังเกต 7
10. มีไหวพริบปฎิภาณในคำถามดี 7
ครั้งที่ 8 การทำสื่อ ไตเติ้ลรายการ
สื่อไตเติ้ลรายการ
เทคนิคการนำเสนอ แนวคิคเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ งานโฆษณาในการสร้างสรรค์ผลงานให้ประสบความสำเร็จหลักการสร้างสื่อ เพื่อการนำเสนอผลงานที่ดีตัวอย่างกรณีศึกษา สื่อไตเติ้ลรายการ Titleศิลปะในการนำเสนอไม่ได้จำกัดอยู่เพียงแต่มุมกล้องการจัดเสนอที่สวยงาม สื่ออารมณ์ และความมายตามที่ผู้ผลิต รายการต้องการเท่านั้น ยังมีศิลปะของการนำเสนออีกรูปแบบหนึ่งที่ทุกรายการจะขาดไม่ได้ นั้นคือ ส่วนที่เรียกว่าเป็น ส่วนประกอบรายการ อันได้แก่ ไตเติ้ล ตตัวอย่างรายการ อินเตอร์ลูคหรือดีซีน และทัศนรายการไตเติ้ล คือส่วนประกอบรายการโทรทัศน์ ที่ทำหน้าที่บอกชื่อรายการโดยปกติจะอยู่ ในส่วนทายสุดของรายการ
1. รูปแบบการนำเสนอ
2. ลักษณะของภาพ
3. ทัศนสารที่ใช้สร้างเรื่อง
4. ตัวอักษรชื่อรายการ
5. ลำดับการนำเสนอ
6. การใช้เสียง
7. ความยาว
8. ลีลา
1.รูปแบบการนำเสนอไตเติ้ลรายการ คือ วิธีการเล่าเรื่องด้วยภาพที่ปรากฎในไตเติ้ลรายการ
1.1 การใช้ชื่อรายการ มีการใช้เฉพาะ ชื่อรายการเท่านั้นในการนำเสนอ โดยปราศจากภาพที่จะช่วยขยายความหรือเล่าเรื่อง
1.2 การใช้สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ เป็ฯสิ่งที่ใช้แทนความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป-1.3 การนำเสนอบุคคล การนำเสนอบุคคลในไตเติ้ล รายการมี 3 ลักษณะ คือ การแนะนำผู้ดำเนินรายการหรือพิธีกร การแนะนำนักแสดง และการนำเสนอแขกรับเชิญ
1.4 การใช้ภาพแสดงเนื้อหา ภาพแสดงเนื้อหาที่ใช้เป็นรูปแบบการนำเสนอไตเติ้ล ทำให้ผู้ชมทราบได้เป็นอย่างดี
1.5 การสร้างโครงเรื่อง โดยปกติแล้วโครงเรื่องเป็ฯส่วนประกอบสำคัญของการเล่าเรื่องเป็ฯรูปแบบละคร
2. ลักษณะของภาพไตเติ้ลรายการที่ดี
2.1 ชนิดภาพ มีการสร้างสรรค์ภาพโดยใช้ภาพที่ถ่ายจริง มักเป็นไตเติ้ล
2.2 มุมมองภาพ ที่ปรากฎ มักเป็นภาพประเภท
- Simple shot คือ เป็นภาพที่มีเพียงวัตถุเท่านั้นที่เคลื่อนไหว
- Developing shot คือ เป็นภาพที่ประกอบขึ้นจากการเคลื่อนไหวของเลนส์
- Complex shot คือ เป็นภาพประกอบขึ้นจากการเคลื่อนไหวของเลนส์ (ซูมเข้า-ซูมออก หรือเปลี่ยนระยะชัด)
-2.3 ลำดับภาพ คือ วิธีการเรียงร้อยภาพเข้าไว้ด้วยกันเพื่อการสื่อสารไปยังผู้ชม
- การตัดภาพ คือ เป็นการนำเสนอภาพหนึ่งไปต่อท้ายอีกภาพหนึ่ง
- การจางซ้อนภาพ คือ เป็นการนำเสนอภาพหนึ่ง ไปเชื่อมทั้งภาพหนึ่ง โดยที่ในช่วงการเชื่อมต่อ ช่วงท้ายของภาพแรกค่อย ๆ จางหาย
- การกวาดภาพ คือ เป็นการนำเสนอภาพหนึ่งไปเชื่อมกับอีกภาพหนึ่ง โดยช่วงการเชื่อมต่อยังคงเห็นทั้งสองภาพ มีความชัดเท่านั้น
3.ทัศนสารที่ใช้สร้างเรื่อง ได้แก่ พื้นที่ เส้น รูปร่าง ความเข้มสี สี การเคลื่อนไหว และจังหวะ
3.1 พื้นที่ การใช้พื้นหลังให้เป็นสามมิติ
3.2 เส้น ปรากฎอยู่ในทุกส่วนของภาพ เพราะเมื่อมีความแตกต่างของความเข้มสีหรือสีตัดกันอย่างชัดเจน เส้นจะพบเห็นในไตเติ้ล
-3.3 รูปร่าง การใช้รูปร่างพื้นฐาน ได้แก่ วงกลม สี่เหลี่ยม และสามเหลี่ยม สำหรับรูปร่างพื้นฐาน สองมิติ และทรงกลม ลูกบาศก์
3.4 สีและความเข้มสี สีแต่ละสีให้อารมณ์สีแดง
- ตื่นเต้นเร้าใจสีเหลือง
- ดูสดใส ศักดิ์สิทธิ์สีน้ำเงิน
- หนักแน่นมีราคาสีฟ้า
- ให้ความสุขสบาย โปร่งสีเขียว
- ความรุ้สึกสดชื่นสีม่วง
- มีเสน่ห์ ลึกลับสีชมพู
- รู้สึกนุ่มนวลสีสันหลากหลาย สดใส สนุกสนาน
เทคนิคการนำเสนอ แนวคิคเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ งานโฆษณาในการสร้างสรรค์ผลงานให้ประสบความสำเร็จหลักการสร้างสื่อ เพื่อการนำเสนอผลงานที่ดีตัวอย่างกรณีศึกษา สื่อไตเติ้ลรายการ Titleศิลปะในการนำเสนอไม่ได้จำกัดอยู่เพียงแต่มุมกล้องการจัดเสนอที่สวยงาม สื่ออารมณ์ และความมายตามที่ผู้ผลิต รายการต้องการเท่านั้น ยังมีศิลปะของการนำเสนออีกรูปแบบหนึ่งที่ทุกรายการจะขาดไม่ได้ นั้นคือ ส่วนที่เรียกว่าเป็น ส่วนประกอบรายการ อันได้แก่ ไตเติ้ล ตตัวอย่างรายการ อินเตอร์ลูคหรือดีซีน และทัศนรายการไตเติ้ล คือส่วนประกอบรายการโทรทัศน์ ที่ทำหน้าที่บอกชื่อรายการโดยปกติจะอยู่ ในส่วนทายสุดของรายการ
1. รูปแบบการนำเสนอ
2. ลักษณะของภาพ
3. ทัศนสารที่ใช้สร้างเรื่อง
4. ตัวอักษรชื่อรายการ
5. ลำดับการนำเสนอ
6. การใช้เสียง
7. ความยาว
8. ลีลา
1.รูปแบบการนำเสนอไตเติ้ลรายการ คือ วิธีการเล่าเรื่องด้วยภาพที่ปรากฎในไตเติ้ลรายการ
1.1 การใช้ชื่อรายการ มีการใช้เฉพาะ ชื่อรายการเท่านั้นในการนำเสนอ โดยปราศจากภาพที่จะช่วยขยายความหรือเล่าเรื่อง
1.2 การใช้สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ เป็ฯสิ่งที่ใช้แทนความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป-1.3 การนำเสนอบุคคล การนำเสนอบุคคลในไตเติ้ล รายการมี 3 ลักษณะ คือ การแนะนำผู้ดำเนินรายการหรือพิธีกร การแนะนำนักแสดง และการนำเสนอแขกรับเชิญ
1.4 การใช้ภาพแสดงเนื้อหา ภาพแสดงเนื้อหาที่ใช้เป็นรูปแบบการนำเสนอไตเติ้ล ทำให้ผู้ชมทราบได้เป็นอย่างดี
1.5 การสร้างโครงเรื่อง โดยปกติแล้วโครงเรื่องเป็ฯส่วนประกอบสำคัญของการเล่าเรื่องเป็ฯรูปแบบละคร
2. ลักษณะของภาพไตเติ้ลรายการที่ดี
2.1 ชนิดภาพ มีการสร้างสรรค์ภาพโดยใช้ภาพที่ถ่ายจริง มักเป็นไตเติ้ล
2.2 มุมมองภาพ ที่ปรากฎ มักเป็นภาพประเภท
- Simple shot คือ เป็นภาพที่มีเพียงวัตถุเท่านั้นที่เคลื่อนไหว
- Developing shot คือ เป็นภาพที่ประกอบขึ้นจากการเคลื่อนไหวของเลนส์
- Complex shot คือ เป็นภาพประกอบขึ้นจากการเคลื่อนไหวของเลนส์ (ซูมเข้า-ซูมออก หรือเปลี่ยนระยะชัด)
-2.3 ลำดับภาพ คือ วิธีการเรียงร้อยภาพเข้าไว้ด้วยกันเพื่อการสื่อสารไปยังผู้ชม
- การตัดภาพ คือ เป็นการนำเสนอภาพหนึ่งไปต่อท้ายอีกภาพหนึ่ง
- การจางซ้อนภาพ คือ เป็นการนำเสนอภาพหนึ่ง ไปเชื่อมทั้งภาพหนึ่ง โดยที่ในช่วงการเชื่อมต่อ ช่วงท้ายของภาพแรกค่อย ๆ จางหาย
- การกวาดภาพ คือ เป็นการนำเสนอภาพหนึ่งไปเชื่อมกับอีกภาพหนึ่ง โดยช่วงการเชื่อมต่อยังคงเห็นทั้งสองภาพ มีความชัดเท่านั้น
3.ทัศนสารที่ใช้สร้างเรื่อง ได้แก่ พื้นที่ เส้น รูปร่าง ความเข้มสี สี การเคลื่อนไหว และจังหวะ
3.1 พื้นที่ การใช้พื้นหลังให้เป็นสามมิติ
3.2 เส้น ปรากฎอยู่ในทุกส่วนของภาพ เพราะเมื่อมีความแตกต่างของความเข้มสีหรือสีตัดกันอย่างชัดเจน เส้นจะพบเห็นในไตเติ้ล
-3.3 รูปร่าง การใช้รูปร่างพื้นฐาน ได้แก่ วงกลม สี่เหลี่ยม และสามเหลี่ยม สำหรับรูปร่างพื้นฐาน สองมิติ และทรงกลม ลูกบาศก์
3.4 สีและความเข้มสี สีแต่ละสีให้อารมณ์สีแดง
- ตื่นเต้นเร้าใจสีเหลือง
- ดูสดใส ศักดิ์สิทธิ์สีน้ำเงิน
- หนักแน่นมีราคาสีฟ้า
- ให้ความสุขสบาย โปร่งสีเขียว
- ความรุ้สึกสดชื่นสีม่วง
- มีเสน่ห์ ลึกลับสีชมพู
- รู้สึกนุ่มนวลสีสันหลากหลาย สดใส สนุกสนาน
วันอังคารที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2553
วันอังคารที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2553
งานครั้งที่ 6
บันทึกงาน
ตัวอย่างกรณีศึกษา สื่อป้ายโฆษณาบนเว็บ ( web Banner )
คือรูปแบบหนึ่งของโฆษณาบนเวิลด์ไวด์เว็บ เป็นการวางภาพโฆษณาลงบนหน้าเว็บแล้วทำลิงค์ กลับไปยังเว็บไซต์ที่โฆษณา ด้วยจุดประสงค์เพื่อดึงดูด ผู้เข้าชมให้เข้าไปยังเว็บ ไซต์ที่โฆษณานั้นผ่านการคลิก เว็บแบนเนอส์ สร้างขึ้นจากไฟล์รูปภาพ ทั้วไปเช่น GIF JPG PNG หรือใช้จาวาสคริปส์ เชื่อมโยงเทคโนโลยีมัลติมีเดียอย่างอื่น เช่น แฟลช ข้อความ จาวา หรือซิลเวอร์ไลต์ เป็นต้น และอาจมีการใช้ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือวีดีโอ มาผสมผสานเพื่อนำเสนอโดดเด่นมากที่สุดการสร้างสรรค์ผลงานเนื้อหาที่ต้องการสื่อในเว็บแบนเนอส์ ก็คล้ายกับป้ายโฆษณาในชีวิตจริง คือการโฆษณาประชาสัมพันธ์ ให้ลูกค้า หรือคนอื่นทั่วไปพบว่ามีสินค้าหรือบริการอะไรในปัจจุบัน เพื่อเป็นทางเลือกให้กับลูกค้าขนาดแบนเนอร์ ที่เป็นที่นิยม728*90 Pixel : Leader boardเป็นแบนเนอร์ขนาดนิยม ขนาดใหม่ สามารถแสดงข้อมูลสินค้าและบริการได้มากตำแหน่งที่เหมาะสมที่สุดด้านบนถัดลงมาองค์ประกอบที่ใช้ในการออกแบบแบนเนอร์ มี 6 ชนิด ได้แก่
1. พาดหัว
2. ข้อความโฆษณา
3. ภาพประกอบ
4. สัญลักษณ์ของผู้โฆษณา
5. สี
6. * การเคลื่อนไหว และการใช้เสียงประกอบหลักการออกแบบแบนเนอร์ที่ดี ได้แก่
1. ตัวอักษร
2. สัญลักษณ์
3. ภาพประกอบ
4. สี
5. การจัดวาง
1. ตัวอักษร* ขนาดและสัดส่วน ที่เหมาะสม โดยประมาณพาดหัว 48 ptข้อความ 32 pt*รูปแบบเหมาะสมสอดคล้องกับบุคลิก(mood & tone )* รูปแบบไม่ควรเกิน 2-3 แบบ2. สัญลักษณ์* ควรกำหนดขนาดให้เด่นหรือด้อย3. ภาพประกอบ*ควรใช้ภาพกราฟิก ในการออกแบบมากกว่าภาพถ่าย เนื่องจาก ขนาดของไฟล์ ของภาพลายเส้น (GIF) เล็กกว่าโหลดได้เร็วกว่ากับโฆษณา4. สี* ระบุค่าสีในระบบ RGB 216 สี* พื้นหลังและตัวอักษรควรใช้สีตัดกันให้เด่นชัด* จับคู่สีให้เหมาะสม ไม่ควรเกิน 2-3 สี*รูปแบบเหมาะสมสอดคล้องกับบุคลิก(mood & tone )
* รูปแบบไม่ควรเกิน 2-3 แบบ
2. สัญลักษณ์
* ควรกำหนดขนาดให้เด่นหรือด้อย
3. ภาพประกอบ*ควรใช้ภาพกราฟิก ในการออกแบบมากกว่าภาพถ่าย เนื่องจาก ขนาดของไฟล์ ของภาพลายเส้น (GIF) เล็กกว่าโหลดได้เร็วกว่ากับโฆษณา
4. สี
* ระบุค่าสีในระบบ RGB 216 สี
* พื้นหลังและตัวอักษรควรใช้สีตัดกันให้เด่นชัด* จับคู่สีให้เหมาะสม ไม่ควรเกิน 2-3 สี
ตัวอย่างกรณีศึกษา สื่อป้ายโฆษณาบนเว็บ ( web Banner )
คือรูปแบบหนึ่งของโฆษณาบนเวิลด์ไวด์เว็บ เป็นการวางภาพโฆษณาลงบนหน้าเว็บแล้วทำลิงค์ กลับไปยังเว็บไซต์ที่โฆษณา ด้วยจุดประสงค์เพื่อดึงดูด ผู้เข้าชมให้เข้าไปยังเว็บ ไซต์ที่โฆษณานั้นผ่านการคลิก เว็บแบนเนอส์ สร้างขึ้นจากไฟล์รูปภาพ ทั้วไปเช่น GIF JPG PNG หรือใช้จาวาสคริปส์ เชื่อมโยงเทคโนโลยีมัลติมีเดียอย่างอื่น เช่น แฟลช ข้อความ จาวา หรือซิลเวอร์ไลต์ เป็นต้น และอาจมีการใช้ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือวีดีโอ มาผสมผสานเพื่อนำเสนอโดดเด่นมากที่สุดการสร้างสรรค์ผลงานเนื้อหาที่ต้องการสื่อในเว็บแบนเนอส์ ก็คล้ายกับป้ายโฆษณาในชีวิตจริง คือการโฆษณาประชาสัมพันธ์ ให้ลูกค้า หรือคนอื่นทั่วไปพบว่ามีสินค้าหรือบริการอะไรในปัจจุบัน เพื่อเป็นทางเลือกให้กับลูกค้าขนาดแบนเนอร์ ที่เป็นที่นิยม728*90 Pixel : Leader boardเป็นแบนเนอร์ขนาดนิยม ขนาดใหม่ สามารถแสดงข้อมูลสินค้าและบริการได้มากตำแหน่งที่เหมาะสมที่สุดด้านบนถัดลงมาองค์ประกอบที่ใช้ในการออกแบบแบนเนอร์ มี 6 ชนิด ได้แก่
1. พาดหัว
2. ข้อความโฆษณา
3. ภาพประกอบ
4. สัญลักษณ์ของผู้โฆษณา
5. สี
6. * การเคลื่อนไหว และการใช้เสียงประกอบหลักการออกแบบแบนเนอร์ที่ดี ได้แก่
1. ตัวอักษร
2. สัญลักษณ์
3. ภาพประกอบ
4. สี
5. การจัดวาง
1. ตัวอักษร* ขนาดและสัดส่วน ที่เหมาะสม โดยประมาณพาดหัว 48 ptข้อความ 32 pt*รูปแบบเหมาะสมสอดคล้องกับบุคลิก(mood & tone )* รูปแบบไม่ควรเกิน 2-3 แบบ2. สัญลักษณ์* ควรกำหนดขนาดให้เด่นหรือด้อย3. ภาพประกอบ*ควรใช้ภาพกราฟิก ในการออกแบบมากกว่าภาพถ่าย เนื่องจาก ขนาดของไฟล์ ของภาพลายเส้น (GIF) เล็กกว่าโหลดได้เร็วกว่ากับโฆษณา4. สี* ระบุค่าสีในระบบ RGB 216 สี* พื้นหลังและตัวอักษรควรใช้สีตัดกันให้เด่นชัด* จับคู่สีให้เหมาะสม ไม่ควรเกิน 2-3 สี*รูปแบบเหมาะสมสอดคล้องกับบุคลิก(mood & tone )
* รูปแบบไม่ควรเกิน 2-3 แบบ
2. สัญลักษณ์
* ควรกำหนดขนาดให้เด่นหรือด้อย
3. ภาพประกอบ*ควรใช้ภาพกราฟิก ในการออกแบบมากกว่าภาพถ่าย เนื่องจาก ขนาดของไฟล์ ของภาพลายเส้น (GIF) เล็กกว่าโหลดได้เร็วกว่ากับโฆษณา
4. สี
* ระบุค่าสีในระบบ RGB 216 สี
* พื้นหลังและตัวอักษรควรใช้สีตัดกันให้เด่นชัด* จับคู่สีให้เหมาะสม ไม่ควรเกิน 2-3 สี
ศิลปินวง K-OTIC
ชื่อวง K-OTIC
1. ข้อมูล
กลุ่มเด็กหนุ่ม 5 คนต่างที่มาต่างสัญชาติ : ไทย2 : ญี่ปุ่น2: เกาหลี 1 รวมตัวกันในชื่อที่พวกเขาภูมิใจเสนอว่า K- OTIC 1 ในกลุ่มศิลปินจากค่าย KAMIKAZE ที่แนะนำตัวเป็นครั้งแรกในเพลง “ขัดใจ” เพลงเปิดตัวค่ายฯ 5 ความวุ่นวาย ปั่นป่วนไร้รูปแบบ แหกทุกกฎที่มี แต่เป็นคนดีของสังคม K-OTIC BOY BAND ต่างสัญชาติ : ไทย (ป๊อปปี้, เขื่อน) ญี่ปุ่น (โทโมะ, เคนตะ) เกาหลี (จองเบ) ที่รวมตัว tackteam สร้างความปั่นป่วน แปลกใหม่ & น่าสนใจ เป็นจุดแข็งและจุดขายที่แตกต่างจากคู่แข่ง และนับเป็นครั้งแรกของวงการเพลไทยอีกด้วย ความปั่นป่วน STEP 2 อยู่ที่ K-OTIC มีหน้าตาและความสามารถเป็นอาวุธ เรียกว่าเข้าตากรรมการวัยทีนที่เป็น core target อย่างไม่ลังเลใจ… Girl Group คนไหนชอบ boy ไทย inter เรามี ใครชอบ j pop หรือหนุ่มเกาหลี เราจัดให้ ในเรื่องความสามารถ แต่ละคนต่างเก่งคนละ style มีคุณสมบัติความเป็น IDOLสูง ความปั่นป่วน STEP 3 อยู่ที่เพลงช้าหวังผล “รักไม่ได้ หรือ ไม่ได้รัก” ไม้เด็ดอยู่ที่มี 2 VERSION 2 ภาษา คือไทย และ เกาหลี ที่เอาใจ teen ไทยที่คลั่งไคล้เกาหลีแบบหัวปักหัวปำ และใน VERSION เกาหลีนี่เองที่ "จองเบ" หนุ่มแดนกิมจิ หนึ่งเดียวจาก K- OTIC เป็นคนแต่งคำร้องเองอีกด้วย และสำหรับเพลงอื่นในอัลบั้ม ท่อน rap ภาษาญี่ปุ่น เกาหลี ก็ล้วนเป็นฝีมือของ 2 หนุ่มญี่ปุ่น กับ 1 เกาหลี นั่นเอง
K-OTIC FREE TO PLAY ฉีกกฎความมันส์ เล่นไม่มียั้ง! เตรียมรับ STEP ลูกใหม่ ต้อนรับปี 2010 ด้วยบีท Electronic POP Dance ผสม Trance Music ท้าให้คุณ FREE TO PLAY ไปกับท่าเต้นสไตล์ STREET TEAM ของพวกเค้า ฟังพร้อมกัน 14 ธ.ค. นี้ และติดตามชมมิวสิกวิดีโอ FREE TO PLAY 28 ธ.ค นี้ทั่วประเทศ ...
ป๊อปปี้

โทโมะ



1. ข้อมูล
กลุ่มเด็กหนุ่ม 5 คนต่างที่มาต่างสัญชาติ : ไทย2 : ญี่ปุ่น2: เกาหลี 1 รวมตัวกันในชื่อที่พวกเขาภูมิใจเสนอว่า K- OTIC 1 ในกลุ่มศิลปินจากค่าย KAMIKAZE ที่แนะนำตัวเป็นครั้งแรกในเพลง “ขัดใจ” เพลงเปิดตัวค่ายฯ 5 ความวุ่นวาย ปั่นป่วนไร้รูปแบบ แหกทุกกฎที่มี แต่เป็นคนดีของสังคม K-OTIC BOY BAND ต่างสัญชาติ : ไทย (ป๊อปปี้, เขื่อน) ญี่ปุ่น (โทโมะ, เคนตะ) เกาหลี (จองเบ) ที่รวมตัว tackteam สร้างความปั่นป่วน แปลกใหม่ & น่าสนใจ เป็นจุดแข็งและจุดขายที่แตกต่างจากคู่แข่ง และนับเป็นครั้งแรกของวงการเพลไทยอีกด้วย ความปั่นป่วน STEP 2 อยู่ที่ K-OTIC มีหน้าตาและความสามารถเป็นอาวุธ เรียกว่าเข้าตากรรมการวัยทีนที่เป็น core target อย่างไม่ลังเลใจ… Girl Group คนไหนชอบ boy ไทย inter เรามี ใครชอบ j pop หรือหนุ่มเกาหลี เราจัดให้ ในเรื่องความสามารถ แต่ละคนต่างเก่งคนละ style มีคุณสมบัติความเป็น IDOLสูง ความปั่นป่วน STEP 3 อยู่ที่เพลงช้าหวังผล “รักไม่ได้ หรือ ไม่ได้รัก” ไม้เด็ดอยู่ที่มี 2 VERSION 2 ภาษา คือไทย และ เกาหลี ที่เอาใจ teen ไทยที่คลั่งไคล้เกาหลีแบบหัวปักหัวปำ และใน VERSION เกาหลีนี่เองที่ "จองเบ" หนุ่มแดนกิมจิ หนึ่งเดียวจาก K- OTIC เป็นคนแต่งคำร้องเองอีกด้วย และสำหรับเพลงอื่นในอัลบั้ม ท่อน rap ภาษาญี่ปุ่น เกาหลี ก็ล้วนเป็นฝีมือของ 2 หนุ่มญี่ปุ่น กับ 1 เกาหลี นั่นเอง

K-OTIC FREE TO PLAY ฉีกกฎความมันส์ เล่นไม่มียั้ง! เตรียมรับ STEP ลูกใหม่ ต้อนรับปี 2010 ด้วยบีท Electronic POP Dance ผสม Trance Music ท้าให้คุณ FREE TO PLAY ไปกับท่าเต้นสไตล์ STREET TEAM ของพวกเค้า ฟังพร้อมกัน 14 ธ.ค. นี้ และติดตามชมมิวสิกวิดีโอ FREE TO PLAY 28 ธ.ค นี้ทั่วประเทศ ...
@แนะนำสมาชิก@


โทโมะ
2. กลุ่มเป้าหมาย


กลุ่มวัยรุ่น (มัธยม) อายุระหว่าง 13-18 ปี
ที่ชอบความมันส์ การเต้น ความสนุกสนาน
3. concept
Free to play
สนุกสุดมันส์ พร้อมฉีกกฎแห่งท่าเต้นที่ติดกันทั่วเมือง
บันทึกงาน
ตัวอย่างกรณีศึกษา สื่อป้ายโฆษณาบนเว็บ ( web Banner )
คือรูปแบบหนึ่งของโฆษณาบนเวิลด์ไวด์เว็บ เป็นการวางภาพโฆษณาลงบนหน้าเว็บแล้วทำลิงค์ กลับไปยังเว็บไซต์ที่โฆษณา ด้วยจุดประสงค์เพื่อดึงดูด ผู้เข้าชมให้เข้าไปยังเว็บ ไซต์ที่โฆษณานั้นผ่านการคลิก เว็บแบนเนอส์ สร้างขึ้นจากไฟล์รูปภาพ ทั้วไปเช่น GIF JPG PNG หรือใช้จาวาสคริปส์ เชื่อมโยงเทคโนโลยีมัลติมีเดียอย่างอื่น เช่น แฟลช ข้อความ จาวา หรือซิลเวอร์ไลต์ เป็นต้น และอาจมีการใช้ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือวีดีโอ มาผสมผสานเพื่อนำเสนอโดดเด่นมากที่สุดการสร้างสรรค์ผลงานเนื้อหาที่ต้องการสื่อในเว็บแบนเนอส์ ก็คล้ายกับป้ายโฆษณาในชีวิตจริง คือการโฆษณาประชาสัมพันธ์ ให้ลูกค้า หรือคนอื่นทั่วไปพบว่ามีสินค้าหรือบริการอะไรในปัจจุบัน เพื่อเป็นทางเลือกให้กับลูกค้าขนาดแบนเนอร์ ที่เป็นที่นิยม728*90 Pixel : Leader boardเป็นแบนเนอร์ขนาดนิยม ขนาดใหม่ สามารถแสดงข้อมูลสินค้าและบริการได้มากตำแหน่งที่เหมาะสมที่สุดด้านบนถัดลงมาองค์ประกอบที่ใช้ในการออกแบบแบนเนอร์ มี 6 ชนิด ได้แก่
1. พาดหัว
2. ข้อความโฆษณา
3. ภาพประกอบ
4. สัญลักษณ์ของผู้โฆษณา
5. สี
6. * การเคลื่อนไหว และการใช้เสียงประกอบหลักการออกแบบแบนเนอร์ที่ดี ได้แก่
1. ตัวอักษร
2. สัญลักษณ์
3. ภาพประกอบ
4. สี
5. การจัดวาง
1. ตัวอักษร* ขนาดและสัดส่วน ที่เหมาะสม โดยประมาณพาดหัว 48 ptข้อความ 32 pt*รูปแบบเหมาะสมสอดคล้องกับบุคลิก(mood & tone )* รูปแบบไม่ควรเกิน 2-3 แบบ2. สัญลักษณ์* ควรกำหนดขนาดให้เด่นหรือด้อย3. ภาพประกอบ*ควรใช้ภาพกราฟิก ในการออกแบบมากกว่าภาพถ่าย เนื่องจาก ขนาดของไฟล์ ของภาพลายเส้น (GIF) เล็กกว่าโหลดได้เร็วกว่ากับโฆษณา4. สี* ระบุค่าสีในระบบ RGB 216 สี* พื้นหลังและตัวอักษรควรใช้สีตัดกันให้เด่นชัด* จับคู่สีให้เหมาะสม ไม่ควรเกิน 2-3 สี
*รูปแบบเหมาะสมสอดคล้องกับบุคลิก(mood & tone )
*รูปแบบเหมาะสมสอดคล้องกับบุคลิก(mood & tone )
* รูปแบบไม่ควรเกิน 2-3 แบบ
2. สัญลักษณ์
* ควรกำหนดขนาดให้เด่นหรือด้อย
3. ภาพประกอบ*ควรใช้ภาพกราฟิก ในการออกแบบมากกว่าภาพถ่าย เนื่องจาก ขนาดของไฟล์ ของภาพลายเส้น (GIF) เล็กกว่าโหลดได้เร็วกว่ากับโฆษณา
4. สี
* ระบุค่าสีในระบบ RGB 216 สี
* พื้นหลังและตัวอักษรควรใช้สีตัดกันให้เด่นชัด* จับคู่สีให้เหมาะสม ไม่ควรเกิน 2-3 สี
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)